The project No Man’s Land invites 65 participants from diverse locations and backgrounds to utilise cyber space as the primary platform to present works addressing the territorially imagined line of the border, its powers of inclusion and exclusion, and its ability to simultaneously promote both unity and conflict.

An initiative of Bangkok-based collective Womanifesto, No Man’s Land creates a kind of web gallery where visitors entering the site can scroll down a list of participants’ names and choose to view a specific work. Works include short video pieces, single or multiple still images, sound pieces and text. The site will also include a web-board where participating artists and site visitors can post comments about the work or any other related issues. Active since May 2006, the project will continue to develop and evolve as participants up-load their work throughout the year. It is hoped that the project will be widely accessible online to a diverse range of people in numerous locations.

In light of the current global political situation, where borders and the nations they contain are so evangelistically defended and too often bloodily contested, co-curators Varsha Nair and Katherine Olston decided to mount a project reflecting these issues. All one needs to do is turn on the television, pick up a paper, listen to a story of a family member or friend, or even just to step out your own front door to be reminded of the effects of nationalism on our lives. Furthermore, the project aims to establish a forum to generate intellectual exchange and communicate and raise awareness of other related experiences, creating a flow of information about how different social institutions, economic systems, cultures, religions and ethnicities co-exist in contemporary society.

Borders possess the capacity to create a sense of belonging and security, yet they also often promote a homogenous idea of identity and cultural value and therefore often may not allow for diversity, resulting in nationalistic narratives often being superimposed over ethnically diverse groups of people in an attempt to ignore or obliterate difference. In order then, to embrace and to acknowledge difference, participants from diverse locations and backgrounds were invited to partake in the project and asked to create pertinent works reflecting upon contemporary and personal experiences of nationalism. Whilst the project will evolve as new work is added, the work currently contained in the website already acts as a map, reflecting the range of personal experiences surrounding the issues afore mentioned.

Karla Sachse’s four-image documentation of a real installation in Berlin, entitled, “rabbits at no man’s land of THE WALL in Berlin” draws our attention to an era now past, to a space that was neither east nor west, a no-man’s land beneath the Berlin Wall where rabbits lived in burrows, oblivious to the politically-charged nature of the territory they occupied.

Built for perhaps similarly ambivalent creatures, ‘Babyklappe’ by Kai Kaljo provides us with a glimpse of a different kind of ‘no-man’s land’. Her eerie single, still image work shows us a picture taken at a hospital in Dortmund in 2006 of a special, purpose-built, baby-sized door where unwanted babies can be deposited, abandoned to the care of the hospital. The text accompanying the image reads, ‘On the right side, there are instructions in German, Polish and Turkish, that say once you put the baby in and close the window you cannot reopen the babyklappe anymore. Some pens and paper can be seen on the left side, for notes one may want to leave. The locals say it is a relatively new thing in Dortmund.’ Although not dealing directly with the physical site of the border, the work forces us to confront the implications of the displacement of peoples across borders as a result of warfare, persecution and/or financial hardship.

In a touching and multi-layered video work, ‘Great Expectations’ artist Renata Poljak takes us on a journey to her familial home in Split, a city on the shores of the Adriatic Sea in present day Croatia. The sunniest place in Europe, Split has recently been overcome with ostentatious holiday houses clustered around its coast. She narrates the story of her uncle, who upon inheriting the family home, promptly sells the land directly in front of his traditional old home for an immense profit. The new owners build a towering two-story mansion and the uncle thus forfeits his million-dollar view, having now only a view of the red tiles of the roof of the house in front. The video also includes a disturbing image of nationalistic football violence; Hajduk football fans setting fire to a car with the intent to burn its passenger alive. The work addresses concerns of property ownership and territory, and the way in which acts of violence may be committed under the guise of nationalistic ideals, no matter how misguided or malinformed they may be.

In bringing together such a volume of works (there are presently 65 artists contributing to the project) No Man’s Land presents an opportunity for participants and site visitors to explore and experience multiple view points surrounding the key issues of the project. Through the overlaying of sometimes radically different and at other times, startlingly similar points of view, No Man’s Land aims to challenge pre-existing notions surrounding nationalism and to highlight what it means to live in the increasingly globalised world of today.

From a curatorial perspective and considering the issue of borders, it is interesting to note the project has largely been administrated and curated over the internet. Participants were gathered through existing professional networks, and were invited to partake via email. As a co-curator to the project it has been interesting liaising with artists who I have never met, and perhaps never, in fact will meet. My relationship with them is purely online and I realise that I do not know their gender, their age, their accent, or their nationality. Moreover, Varsha (in Bangkok) and I communicate almost exclusively through email and thus it makes little difference to the project whether I am in Chiang Mai or Sydney. The curation/creation of the project happens, mostly within the borderless scape of cyber space, in yet another kind of no man’s land. Indeed, the no man’s land, in all its diversity, is a potent space deserving consideration in the increasingly globalised world of today.

Katherine Olston

No Man’s Land โครงการเว็บไซต์เชิญผู้ร่วมงาน 65 คนจากหลากที่ต่างประสบการณ์มาใช้โลกคอมพิวเตอร์เป็นเวทีหลักในการเสนอผลงาน ว่าด้วยเรื่องพรมแดนเส้นแบ่งเขตสมมุติ พลังอำนาจในการรวมพวกและแบ่งแยก และความสามารถในการส่งเสริมเอกภาพและความขัดแย้งในเวลาเดียวกัน

No Man’s Land ซึ่งเป็นการริเริ่มของกลุ่มศิลปินหญิงนานาชาติ Womanifesto ที่กรุงเทพฯ ทำเว็บแสดงผลงานในรูปแบบที่ผู้เข้าชมสามารถจะไล่เรียงชื่อผู้ส่งผลงานแล้ว เลือกดูเฉพาะงาน ผลงานมีทั้งวีดิโอขนาดสั้น ภาพถ่ายทั้งเดี่ยวและหลายภาพ งานเสียงและบทความ นอกจากนี้ยังจะมีเว็บบอร์ดที่ศิลปินและผู้ชมเว็บสามารถแสดงความเห็นเกี่ยว กับผลงานและเรื่องที่เกี่ยวข้อง โครงการเริ่มมาตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2549 และพัฒนาต่อเนื่องเป็นรูปเป็นร่างขณะที่ผู้ร่วมโครงการนำผลงานขึ้นแสดงตลอด ทั้งปี เราหวังจะให้ผู้คนจำนวนมากจากหลายกลุ่มในทุกๆที่เข้าถึงโครงการได้อย่างทั่ว ถึงผ่านอินเตอร์เน็ต

จากการพิจารณาสถานการณ์การเมืองโลกปัจจุบันที่พรมแดนและประเทศในนั้นถูก ปกป้องอย่างแรงกล้าและบ่อยครั้งขัดแย้งถึงขั้นนองเลือด วาร์ชา แนร์และแคทธรีน โอล์สตัน ผู้ร่วมดำเนินงานตัดสินใจคิดโครงการที่จะสะท้อนปัญหาเหล่านี้ เพียงเปิดโทรทัศน์ หยิบหนังสือพิมพ์ ฟังเรื่องราวจากคนในครอบครัวหรือเพื่อน หรือแค่ก้าวออกไปหน้าบ้านเราจะถูกตอกย้ำถึงผลพวงของชาตินิยมในชีวิตเรา นอกจากนี้โครงการหวังที่จะสร้างเวทีเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางปัญญา สื่อสารและสร้างความตระหนักต่อประสบการณ์เกี่ยวเนื่องอื่น สร้างความต่อเนื่องของข้อมูลที่ทำให้เห็นว่าสถาบันทางสังคม ระบบเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ศาสนาและชาติพันธุ์ต่างดำรงอยู่ในสังคมปัจจุบันได้อย่างไร

พรมแดนมีขีดความสามารถที่จะสร้างความรู้สึกมีส่วนร่วมและความมั่นคง แต่มักทำให้เกิดความคิดแนวเดียวในเรื่องเอกลักษณ์และค่านิยมทางวัฒนธรรมซึ่ง ไม่ค่อยเปิดให้มีความหลากหลาย ส่งผลให้เรื่องราวความเป็นชาติถูกหยิบยกให้เหนือกว่าเรื่องราวของผู้คนใน กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆเป็นการละเลยหรือขจัดความแตกต่าง ดังนั้นเพื่อเปิดรับและรับรู้ถึงความแตกต่าง ผู้ร่วมโครงการจากหลากที่ต่างประสบการณ์ได้รับเชิญให้เข้ามาสร้างผลงานตาม หัวข้อที่จะสะท้อนให้เห็นประสบการณ์ด้านชาตินิยมที่เป็นส่วนตัวหรือร่วมสมัย ในขณะที่โครงการจะเห็นเป็นรูปมากขึ้นเมื่อผลงานทยอยส่งเข้ามา แต่งานที่มีอยู่ในเว็บไซต์แล้วขณะนี้ก็เป็นเหมือนแผนที่ชี้ให้เห็น ประสบการณ์เฉพาะตัวต่างๆมากมายต่อประเด็นที่กล่าวถึง

ภาพ 4 รูปที่ถ่ายเก็บจากงานประติมากรรมจัดวางของ Karla Sachse’s เองในกรุงเบอร์ลินที่ใช้ชื่อว่า “rabbits at no man’s land of THE WALL in Berlin” ทำให้เราหวนไปมองยุคสมัยที่ผ่านมา ในอาณาเขตที่ไม่ใช่ของตะวันออกหรือตะวันตก เป็นพื้นที่ปลอดเขตใต้กำแพงเบอร์ลินที่กระต่ายทำโพรงอยู่โดยไม่รู้เห็นกับ ประเด็นการเมืองในดินแดนที่มันครอบครอง

‘Babyklappe’ ที่คงสร้างไว้สำหรับชีวิตที่ไม่รู้จะทำอย่างไรเช่นเดียวกัน และเป็นชื่องานของ Kai Kaljo ทำให้เราได้เห็น ‘no-man’s land’ อีกแบบ ภาพนิ่งดูวังเวงภาพเดียวนี้ถ่ายจากโรงพยาบาลหนึ่งในดอร์ทมุนด์เมื่อ 2549 เห็นเป็นตู้เฉพาะกิจมีบานเปิดขนาดพอดีตัวไว้ใส่ทารกที่ไม่ต้องการหรือถูก ทิ้งให้โรงพยาบาลดูแล มีข้อความกำกับภาพว่า “ด้านขวามีข้อแนะนำเป็นภาษาเยอรมัน, โปแลนด์และตุรกีระบุว่า หลังจากใส่ทารกเข้าไปและปิดประตูจะไม่สามารถเปิดตู้ได้อีก ด้านซ้ายจะเห็นปากกาและกระดาษวางอยู่ เผื่อใครต้องการฝากข้อความ ชาวบ้านบอกว่าเป็นเรื่องใหม่ในดอร์ทมุนด์” งานชิ้นนี้อาจไม่ได้เล่นเรื่องพรมแดนโดยตรง แต่บังคับให้เราเผชิญกับนัยซ่อนเร้นเรื่องการพลัดถิ่นของผู้คนตามชายแดน เพราะสงคราม การถูกปฏิบัติอย่างโหดร้ายและ/หรือภาวะเศรษฐกิจ

‘Great Expectations’ วีดิโอที่กินใจและมีหลายมิติโดย Renata Poljak ศิลปินที่พาเราท่องไปยังบ้านเกิดที่ สปลิท เมืองชายฝั่งทะเลอเดรียติคในประเทศที่ปัจจุบันคือโครเอเชีย สปลิทซึ่งเป็นเมืองที่อากาศอบอุ่นที่สุดในยุโรปเริ่มคลาคล่ำด้วยบ้านพักตาก อากาศอวดฐานะตามชายหาด เธอเล่าเรื่องของลุงซึ่งทันทีที่ได้บ้านประจำตระกูลเป็นมรดกก็ขายที่ด้าน หน้าของบ้านทรงโบราณที่ยังอาศัยอยู่ได้กำไรมามหาศาล เจ้าของใหม่สร้างตึกโอ่อ่าสองชั้น ในขณะที่ลุงสูญเสียวิวเรือนล้านแล้วได้วิวหลังคาแดงของบ้านข้างหน้ามาแทน วีดิโอนี้ยังมีเรื่องที่ดูแล้วน่ากังวลเกี่ยวกับความรุนแรงที่มาจากฟุตบอล ระดับชาติ แฟนทีม Hajduk จุดไฟเผารถคันหนึ่งโดยตั้งใจจะเผาคนนั่งทั้งเป็นด้วย ผลงานนี้ชี้ประเด็นเรื่องความเป็นเจ้าของทรัพย์สินและอาณาเขต และการแสดงความรุนแรงที่เอาอุดมการณ์ความเป็นชาติมาบังหน้าไม่ว่าเพราะถูก ชักนำหรือได้ข้อมูลผิดก็ตาม

การรวบรวมผลงานจำนวนขนาดนี้ (ขณะนี้มีศิลปิน 65 คนส่งงานเข้าร่วม) No Man’s Land เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมและผู้ชมสำรวจและเรียนรู้ทัศนะหลากหลายที่แวดล้อม หัวข้อหลักของงาน No Man’s Land ต้องการถกประเด็นรอบด้านที่มีอยู่เกี่ยวกับชาตินิยมผ่านนานาทัศนะที่บาง ครั้งแตกต่างอย่างสุดขั้วและบ่อยครั้งคล้ายกันอย่างน่าแปลกใจ ทั้งเน้นให้เห็นสภาวะความเป็นอยู่ในโลกที่เข้าถึงกันได้มากขึ้นทุกวันนี้ว่า เป็นอย่างไร

ในมุมมองของผู้ดำเนินงานและเมื่อคิดถึงเรื่องพรมแดน น่าสังเกตว่าการจัดการและดำเนินโครงการนี้ส่วนใหญ่ทำผ่านอินเตอร์เน็ต ชื่อผู้เข้าร่วมงานได้มาจากเครือข่ายระดับอาชีพที่มีอยู่และเชื้อเชิญกันทาง อีเมล์ ในฐานะผู้ดำเนินโครงการถือว่าแปลกที่ประสานติดต่อกับศิลปินโดยไม่เคยเจอกัน และอาจจะไม่ได้เจอเลย ความสัมพันธ์กับคนเหล่านี้ต่อผ่านระบบออนไลน์อย่างเดียว ดิฉันนึกขึ้นได้ว่าไม่รู้กระทั่งเพศ อายุ สำเนียงหรือสัญชาติของพวกเขา ยิ่งไปกว่านั้นวาร์ชา (ซึ่งอยู่กรุงเทพฯ) กับดิฉันแทบจะใช้อีเมล์ติดต่อกันอย่างเดียว ดังนั้นไม่ว่าดิฉันจะอยู่ที่เชียงใหม่หรือซิดนีย์ก็ไม่มีผลอะไรกับโครงการ การดำเนินงาน/การสร้างสรรค์โครงการโดยมากเกิดขึ้นในโลกไร้พรมแดนของ คอมพิวเตอร์ อีกรูปแบบหนึ่งของพื้นที่กลางที่ไม่เป็นของใคร แท้จริงความหลากหลายของดินแดนไร้การครอบครองนี้ คือพื้นที่ที่มีอานุภาพซึ่งควรได้รับการพิจารณาในโลกที่อภิวัฒน์เพิ่มขึ้น ทุกวันนี้

นักเขียน : แคทธรีน โอล์สทัน